บทที่1 ความหมายของความรู้



ความหมายของความรู้จากนักวิชาการแต่ละท่าน



lkujiro Nonaka หมายถึงคือ แนวคิดในการจำแนกความรู้ออกเป็น 2 ประเภท คือ Tacit และ Explicit Knowledge ซึ่งได้รับความนิยมและนำมาใช้อย่างแพร่หลาย ทั้งนี้ทั้ง 2 ท่านได้ให้คำจำกัดความของความรู้ทั้ง 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
 1. Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ต่างๆ ซึ่งสื่อสารหรือถ่ายทอดในรูปแบบของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณ์อักษรได้ยาก ความรู้ชนิดนี้พัฒนาและแบ่งปันกันได้ และเป็นความรู้ที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน

บทที่2 แนวคิดการจัดการความรู้

แนวคิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ความหมายของการจัดการความรู้                                                                                                                                          การจัดการความรู้เป็นกระบวนการ (Process) ที่ดำเนินการร่วมกันโดยผู้ปฏิบัติงานในองค์กร หรือหน่วยงานย่อยขององค์กรเพื่อสร้าง และใช้ความรู้ในการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นกว่าเดิม การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่เป็นวงจรต่อเนื่อง เกิดการพัฒนางานอย่างสม่ำเสมอ เป้าหมาย คือ การพัฒนางาน และพัฒนาคน โดยมีความรู้เป็นเครื่องมือ มีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ ในขณะที่ Henrie and Hedgepeth (2003) ให้ความหมายว่า การจัดการความรู้เป็นระบบการจัดการสินทรัพย์ความรู้ขององค์กรทั้งที่เปความรู้โดยนัยและความรู้ที่เห็นได้อย่างชัดเจน 

บทที่3 กระบวนการจัดการความรู้


กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)

                กระบวนการจัดการความรู้ คือองค์ประกอบหลักของกระบวนการจัดการความรู้ ประกอบด้วย การสร้างและถ่ายโอนความรู้ ดังเช่น SECI Model หรือ Knowledge Spiral ดังที่กล่าวมาแล้ว และได้มีการกล่าวถึง ทาเกชิ (Takeuchi)และ นาโนกะ (Nanoka) ซึ่งได้พัฒนาการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้และการจัดเก็บความรู้ขึ้น อีกท่านหนึ่ง 10 คือ อลัน ฟรอสท์(Alan Frost. 2010) ได้กำหนดขั้นตอนกรอบการจัดการความรู้ประกอบด้วย การระบุความต้องการ การกำหนดแหล่งความรู้ การแสวงหาและสร้างความรู้ การดึงความรู้มาใช้และแบ่งปัน  
และการจัดเก็บความรู้
               กระบวนการจัดการความรู้ เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ ภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้

บทที่4 องค์การแห่งเรียนรู้


       องค์การแห่งเรียนรู้ 


          เป็นแนวคิดในการพัฒนาองค์การโดยเน้นการพัฒนาการเรียนรู้สภาวะของการเป็นผู้นำในองค์การ และการเรียนรู้ร่วมกัน ของคนในองค์การ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ และทักษะร่วมกัน และพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องทันต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน

บทที่ 5 วัฏจักรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้


วัฏจักรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management Systems Life Cycle)



Conventional System Life Cycle วงจรชีวิตการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม
เริ่มต้นจากขั้นตอนที่
 1.Recognition of Need and Feasibility Study การกำหนดความต้องการของระบบ
2.Functional Requirements Specifications กำหนดคุณสมบัติความต้องการ การทำงานของระบบ
3.Logical Design (master design plan) การออกแบบเชิงตรรกะของระบบทั้งหมด(ในกระดาษ)
4.Physical Design (coding) การออกแบบเชิงกายภาพ(การสร้างระบบขึ้นมาเอง)
5.Testing การทดสอบระบบ
6.Implementation (file conversion, user training) การนำระบบไปใช้งาน
7.Operations and Maintenance การดำเนินงานและบำรุงรักษา

บทที่6 การใช้งาน JOOMLA

การใช้งาน JOOMLA เบื้องต้น


 Joomla คือ ระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมมาก ด้วยความสามารถของระบบที่ถูกจัดเตรียมมาให้ผู้ใช้งานสร้างเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว หน้าจอการทำงานถูกออกแบบให้ใช้งานได้ง่าย และสามารถปรับแต่งระบบได้ตามต้องการ ที่สำคัญเป็นระบบฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ่งทางทีมผู้พัฒนามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และทันต่อเทคโนโลยี

บทที่1 ความหมายของความรู้

ความหมายของความรู้จากนักวิชาการแต่ละท่าน lkujiro Nonaka หมายถึงคือ แนวคิดในการจำแนกความรู้ออกเป็น 2 ประเภท คือ Tacit และ Explici...